
วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติไทย, Thailand women's national volleyball teamเป็นทีมวอลเลย์บอลหญิงของประเทศไทย เป็นทีมที่มีการพัฒนาการเล่นอย่างต่อเนื่อง

เริ่มจากการเข้าร่วมการแข่งขันวอลเลย์บอลชิงแชมป์โลกได้เป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ในปี ค.ศ. 1998 หลังจากนั้นในปี ค.ศ. 2002 จึงได้สิทธิ์เข้าร่วมการแข่งขันวอลเลย์บอลเวิลด์กรังด์ปรีซ์ในส่วนโควต้าทวีปเอเชียเป็นต้นมาจนถึงปัจจุบัน ยกเว้นปี ค.ศ. 2007 (ถอนทีมไปแข่งกีฬามหาวิทยาลัยโลกที่ไทยเป็นเจ้าภาพ) โดยสร้างผลงานได้ดีที่สุดในปี ค.ศ. 2012 ที่สามารถคว้าอันดับ 4 ของการแข่งขันมาครองได้สำเร็จ

![]() | |||
สมาคม | สมาคมกีฬาวอลเลย์บอลแห่งประเทศไทย | ||
---|---|---|---|
สมาพันธ์ | สมาพันธ์วอลเลย์บอลเอเชีย | ||
หัวหน้าผู้ฝึกสอน | ดนัย ศรีวัชรเมธากุล | ||
อันดับเอฟไอวีบี | 144 (ณ เดือนสิงหาคม ค.ศ. 2016) | ||
ชิงแชมป์โลก | |||
เข้าแข่งขัน | 4 (ครั้งแรกใน 1998) | ||
ผลการแข่งที่ดีที่สุด | อันดับที่ 13(2010) | ||
เวิลด์คัพ | |||
เข้าแข่งขัน | 1 (ครั้งแรกใน 2007) | ||
ผลการแข่งที่ดีที่สุด | อันดับที่ 10 (2007) | ||
เครื่องแบบ | |||
|
เหรียญรางวัล | ||
---|---|---|
มงเทรอวอลเลย์มาสเตอรส์ | ||
![]() | มงเทรอมาสเตอรส์ 2016 | ทีม |
ชิงแชมป์เอเชีย | ||
![]() | ฮานอย 2009 | ทีม |
![]() | นครราชสีมา 2013 | ทีม |
![]() | บีญัน/มันตินลูปา 2017 | ทีม |
![]() | นครราชสีมา 2001 | ทีม |
![]() | นครราชสีมา 2007 | ทีม |
![]() | เทียนจิน 2015 | ทีม |
ชิงแชมป์เอเชียนคัพ | ||
![]() | อัลมาตี 2012 | ทีม |
![]() | ไท่ฉาง 2010 | ทีม |
![]() | นครราชสีมา 2008 | ทีม |
![]() | หวิญฟุก 2016 | ทีม |
เอเชียนเกมส์ | ||
![]() | อินช็อน 2014 | ทีม |
กีฬามหาวิทยาลัยโลก | ||
![]() | ปักกิ่ง 2001 | ทีม |
![]() | คาซาน 2013 | ทีม |
ซีเกมส์ | ||
![]() | กัวลาลัมเปอร์ 1989 | ทีม |
![]() | มะนิลา 1991 | ทีม |
![]() | เชียงใหม่ 1995 | ทีม |
![]() | จาการ์ตา 1997 | ทีม |
![]() | กัวลาลัมเปอร์ 2001 | ทีม |
![]() | โฮจิมินห์ซิตี 2003 | ทีม |
![]() | มะนิลา 2005 | ทีม |
![]() | นครราชสีมา 2007 | ทีม |
![]() | เวียงจันทน์ 2009 | ทีม |
![]() | จาการ์ตา 2011 | ทีม |
![]() | เนปยีดอ 2013 | ทีม |
![]() | สิงคโปร์ 2015 | ทีม |
![]() | กัวลาลัมเปอร์ 2017 | ทีม |
![]() | กรุงเทพมหานคร 1985 | ทีม |
![]() | สิงคโปร์ 1993 | ทีม |
![]() | กัวลาลัมเปอร์ 1977 | ทีม |
![]() | จาการ์ตา 1987 | ทีม |
ทีมวอลเลย์บอลหญิงของไทยได้พัฒนาการเล่นมาโดยตลอดจนก้าวขึ้นเป็นทีมระดับแนวหน้าของทวีปเอเชีย โดยคว้าอันดับ 3 การแข่งขัน-วอลเลย์บอลชิงแชมป์เอเชียได้ 2 ครั้ง ในปี ค.ศ. 2001 และ ค.ศ. 2007 ก่อนสร้างประวัติศาสตร์เมื่อสามารถเอาชนะทีมชาติจีน 3-1 เซต เป็นแชมป์ทวีปเอเชียเป็นครั้งแรกในการแข่งขันวอลเลย์บอลชิงแชมป์เอเชียในปี ค.ศ. 2009 ที่สนามเกวิ่นเงือ ประเทศเวียดนาม
ทำให้ได้เป็นตัวแทนทวีปเอเชียไปแข่งขันวอลเลย์บอลเวิลด์แกรนด์แชมเปียนคัพในปี ค.ศ. 2009 จากนั้นในปี ค.ศ. 2012 สามารถสร้างประวัติศาสตร์หน้าใหม่ได้อีกครั้ง เมื่อสามารถคว้าแชมป์วอลเลย์บอลชิงแชมป์เอเชียนคัพมาครองเป็นครั้งแรกได้สำเร็จ หลังจากเอาชนะทีมชาติจีนได้อีกครั้ง 3-1 เซต ที่ประเทศคาซัคสถาน
ในปี ค.ศ. 2013 สร้างปรากฏการณ์ครั้งสำคัญ ในการแข่งขันวอลเลย์บอลชิงแชมป์เอเชีย ที่ประเทศไทย เมื่อสามารถคว้าแชมป์ในการแข่งขันรายการนี้ได้อีกครั้ง หลังเอาชนะทีมชาติญี่ปุ่น 3-0 เซตในรอบชิงชนะเลิศ นับเป็นการคว้าแชมป์เอเชียครั้งที่ 2 โดยเป็นการคว้าแชมป์ในประเทศไทยได้เป็นครั้งแรกอีกด้วย จากการคว้าแชมป์ทำให้ได้สิทธิ์ไปแข่งขันวอลเลย์บอลเวิลด์แกรนด์แชมป์เปี้ยนคัพที่ประเทศญี่ปุ่นอีกครั้ง ในฐานะแชมป์ของทวีปเอเชีย โดยสร้างผลงานคว้าอันดับ 5 มาครอง
ทำให้ได้เป็นตัวแทนทวีปเอเชียไปแข่งขันวอลเลย์บอลเวิลด์แกรนด์แชมเปียนคัพในปี ค.ศ. 2009 จากนั้นในปี ค.ศ. 2012 สามารถสร้างประวัติศาสตร์หน้าใหม่ได้อีกครั้ง เมื่อสามารถคว้าแชมป์วอลเลย์บอลชิงแชมป์เอเชียนคัพมาครองเป็นครั้งแรกได้สำเร็จ หลังจากเอาชนะทีมชาติจีนได้อีกครั้ง 3-1 เซต ที่ประเทศคาซัคสถาน
ในปี ค.ศ. 2013 สร้างปรากฏการณ์ครั้งสำคัญ ในการแข่งขันวอลเลย์บอลชิงแชมป์เอเชีย ที่ประเทศไทย เมื่อสามารถคว้าแชมป์ในการแข่งขันรายการนี้ได้อีกครั้ง หลังเอาชนะทีมชาติญี่ปุ่น 3-0 เซตในรอบชิงชนะเลิศ นับเป็นการคว้าแชมป์เอเชียครั้งที่ 2 โดยเป็นการคว้าแชมป์ในประเทศไทยได้เป็นครั้งแรกอีกด้วย จากการคว้าแชมป์ทำให้ได้สิทธิ์ไปแข่งขันวอลเลย์บอลเวิลด์แกรนด์แชมป์เปี้ยนคัพที่ประเทศญี่ปุ่นอีกครั้ง ในฐานะแชมป์ของทวีปเอเชีย โดยสร้างผลงานคว้าอันดับ 5 มาครอง
รายชื่อนักกีฬาชุดปัจจุบัน
หมายเลข | ชื่อ | วันเกิด | ส่วนสูง | น้ำหนัก | กระโดดตบ | กระโดดบล็อก | สโมสรฤดูกาล 2017–18 |
---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | วิภาวี ศรีทอง | 28 มกราคม 1999 | 1.74 เมตร (5 ฟุต 9 นิ้ว) | 65 กก. (140 ปอนด์) | 290 ซม. (9 ฟุต 6 นิ้ว) | 276 ซม. (9 ฟุต 1 นิ้ว) | ![]() |
2 | ปิยะนุช แป้นน้อย | 10 พฤศจิกายน 1989 | 1.71 เมตร (5 ฟุต 7 นิ้ว) | 62 กก. (140 ปอนด์) | 280 ซม. (9 ฟุต 2 นิ้ว) | 275 ซม. (9 ฟุต 0 นิ้ว) | ![]() |
3 | พรพรรณ เกิดปราชญ์ | 5 พฤษภาคม 1993 | 1.73 เมตร (5 ฟุต 8 นิ้ว) | 63 กก. (140 ปอนด์) | 288 ซม. (9 ฟุต 5 นิ้ว) | 279 ซม. (9 ฟุต 2 นิ้ว) | ![]() |
4 | ทัดดาว นึกแจ้ง | 3 กุมภาพันธ์ 1994 | 1.83 เมตร (6 ฟุต 0 นิ้ว) | 72 กก. (160 ปอนด์) | 315 ซม. (10 ฟุต 4 นิ้ว) | 307 ซม. (10 ฟุต 1 นิ้ว) | ![]() |
5 | ปลื้มจิตร์ ถินขาว ![]() | 9 พฤศจิกายน 1983 | 1.80 เมตร (5 ฟุต 11 นิ้ว) | 67 กก. (150 ปอนด์) | 318 ซม. (10 ฟุต 5 นิ้ว) | 309 ซม. (10 ฟุต 2 นิ้ว) | ![]() |
6 | อรอุมา สิทธิรักษ์ | 13 มิถุนายน 1986 | 1.75 เมตร (5 ฟุต 9 นิ้ว) | 72 กก. (160 ปอนด์) | 304 ซม. (10 ฟุต 0 นิ้ว) | 275 ซม. (9 ฟุต 0 นิ้ว) | ![]() |
7 | หัตถยา บำรุงสุข | 12 สิงหาคม 1993 | 1.79 เมตร (5 ฟุต 10 นิ้ว) | 71 กก. (160 ปอนด์) | 302 ซม. (9 ฟุต 11 นิ้ว) | 295 ซม. (9 ฟุต 8 นิ้ว) | ![]() |
8 | ยุพา สนิทกลาง | 14 สิงหาคม 1991 | 1.66 เมตร (5 ฟุต 5 นิ้ว) | 55 กก. (120 ปอนด์) | 275 ซม. (9 ฟุต 0 นิ้ว) | 260 ซม. (8 ฟุต 6 นิ้ว) | ![]() |
9 | จรัสพร บรรดาศักดิ์ | 1 มีนาคม 1993 | 1.81 เมตร (5 ฟุต 11 นิ้ว) | 65 กก. (140 ปอนด์) | 295 ซม. (9 ฟุต 8 นิ้ว) | 289 ซม. (9 ฟุต 6 นิ้ว) | ![]() |
10 | วิลาวัณย์ อภิญญาพงศ์ | 6 มิถุนายน 1984 | 1.74 เมตร (5 ฟุต 9 นิ้ว) | 70 กก. (150 ปอนด์) | 298 ซม. (9 ฟุต 9 นิ้ว) | 285 ซม. (9 ฟุต 4 นิ้ว) | ![]() |
11 | โสรยา พรมหล้า | 6 สิงหาคม 1992 | 1.69 เมตร (5 ฟุต 7 นิ้ว) | 60 กก. (130 ปอนด์) | 284 ซม. (9 ฟุต 4 นิ้ว) | 280 ซม. (9 ฟุต 2 นิ้ว) | ![]() |
12 | ฐาปไพพรรณ ไชยศรี | 29 พฤศจิกายน 1989 | 1.68 เมตร (5 ฟุต 6 นิ้ว) | 70 กก. (150 ปอนด์) | 299 ซม. (9 ฟุต 10 นิ้ว) | 278 ซม. (9 ฟุต 1 นิ้ว) | ![]() |
13 | นุศรา ต้อมคำ | 7 กรกฎาคม 1985 | 1.69 เมตร (5 ฟุต 7 นิ้ว) | 57 กก. (130 ปอนด์) | 289 ซม. (9 ฟุต 6 นิ้ว) | 280 ซม. (9 ฟุต 2 นิ้ว) | ![]() |
14 | ชิตพร กำลังมาก | 17 มีนาคม 1996 | 1.84 เมตร (6 ฟุต 0 นิ้ว) | 74 กก. (160 ปอนด์) | 300 ซม. (9 ฟุต 10 นิ้ว) | 290 ซม. (9 ฟุต 6 นิ้ว) | ![]() |
15 | มลิกา กันทอง | 8 มกราคม 1987 | 1.78 เมตร (5 ฟุต 10 นิ้ว) | 65 กก. (140 ปอนด์) | 298 ซม. (9 ฟุต 9 นิ้ว) | 288 ซม. (9 ฟุต 5 นิ้ว) | ![]() |
16 | พิมพิชยา ก๊กรัมย์ | 16 มิถุนายน 1998 | 1.79 เมตร (5 ฟุต 10 นิ้ว) | 62 กก. (140 ปอนด์) | 307 ซม. (10 ฟุต 1 นิ้ว) | 301 ซม. (9 ฟุต 11 นิ้ว) | ![]() |
17 | ฑิชาญา บุญเลิศ | 14 กุมภาพันธ์ 1997 | 1.79 เมตร (5 ฟุต 10 นิ้ว) | 64 กก. (140 ปอนด์) | 302 ซม. (9 ฟุต 11 นิ้ว) | 300 ซม. (9 ฟุต 10 นิ้ว) | ![]() |
18 | อัจฉราพร คงยศ | 18 มิถุนายน 1995 | 1.78 เมตร (5 ฟุต 10 นิ้ว) | 65 กก. (140 ปอนด์) | 312 ซม. (10 ฟุต 3 นิ้ว) | 304 ซม. (10 ฟุต 0 นิ้ว) | ![]() |
19 | ชัชชุอร โมกศรี | 6 พฤศจิกายน 1999 | 1.79 เมตร (5 ฟุต 10 นิ้ว) | 58 กก. (130 ปอนด์) | 315 ซม. (10 ฟุต 4 นิ้ว) | 310 ซม. (10 ฟุต 2 นิ้ว) | ![]() |
20 | สุพัตรา ไพโรจน์ | 27 มิถุนายน 1990 | 1.60 เมตร (5 ฟุต 3 นิ้ว) | 58 กก. (130 ปอนด์) | 275 ซม. (9 ฟุต 0 นิ้ว) | 265 ซม. (8 ฟุต 8 นิ้ว) | ![]() |
21 | หทัยรัตน์ จารัตน์ | 9 กุมภาพันธ์ 1996 | 1.84 เมตร (6 ฟุต 0 นิ้ว) | 65 กก. (140 ปอนด์) | 298 ซม. (9 ฟุต 9 นิ้ว) | 287 ซม. (9 ฟุต 5 นิ้ว) | ![]() |
ผลการแข่งขัน 2018
การแข่งขัน
โอลิมปิกเกมส์
2004 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
2008 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
2012 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
2016 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
2020 :
วอลเลย์บอลชิงแชมป์โลก
1998 : อันดับ 15
2002 : อันดับ 20
2006 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
2010 : อันดับ 13
2014 : อันดับ 17
2018 :
เวิลด์คัพ
เวิลด์กรังด์ปรีซ์
2002 : อันดับ 8
2003 : อันดับ 10
2004 : อันดับ 10
2005 : อันดับ 12
2006 : อันดับ 11
2007 : ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน เนื่องจากประเทศไทยเป็นเจ้าภาพ กีฬามหาวิทยาลัยโลกฤดูร้อน 2007
2008 : อันดับ 11
2009 : อันดับ 8
2010 : อันดับ 10
2011 : อันดับ 6 ในรอบสุดท้าย
2012 : อันดับ 4 ในรอบสุดท้าย
2013 : อันดับ 13
2014 : อันดับ 11
2015 : อันดับ 9
2016 : อันดับ 6 ในรอบสุดท้าย
2017 : อันดับ 10
เนชั่นลีก
2018 :
วอลเลย์บอลเวิลด์แกรนด์แชมป์เปี้ยนคัพ
วอลเลย์บอลชิงแชมป์เอเชีย
1987 : อันดับ 5
1989 : อันดับ 6
1991 : อันดับ 7
1993 : อันดับ 7
1995 : อันดับ 5
1997 : อันดับ 5
1999 : อันดับ 4
2001 :
เหรียญทองแดง
2003 : อันดับ 4
2005 : อันดับ 6
2007 :
เหรียญทองแดง
2009 :
เหรียญทอง
2011 : อันดับ 4
2013 :
เหรียญทอง
2015 :
เหรียญทองแดง
2017 :
เหรียญเงิน
2019 :
เอเชียนคัพ
เอเชียนเกมส์
1966 : อันดับ 5
1970 : อันดับ 5
1978 : อันดับ 5
1986 : อันดับ 4
1990 : อันดับ 6
1994 : อันดับ 5
1998 : อันดับ 4
2002 : อันดับ 5
2006 : อันดับ 4
2010 : อันดับ 5
2014 :
เหรียญทองแดง
2018 :
2022 :
วอลเลย์บอลซีเกมส์
1977 :
เหรียญทองแดง
1979 : ไม่ทราบผลการแข่งขัน
1981 : ไม่ทราบผลการแข่งขัน
1983 : ไม่ทราบผลการแข่งขัน
1985 :
เหรียญเงิน
1987 :
เหรียญทองแดง
1989 :
เหรียญทอง
1991 :
เหรียญทอง
1993 :
เหรียญเงิน
1995 :
เหรียญทอง
1997 :
เหรียญทอง
1999 : ไม่มีการแข่งขันกีฬาวอลเลย์บอล
2001 :
เหรียญทอง
2003 :
เหรียญทอง
2005 :
เหรียญทอง
2007 :
เหรียญทอง
2009 :
เหรียญทอง
2011 :
เหรียญทอง
2013 :
เหรียญทอง
2015 :
เหรียญทอง
2017 :
เหรียญทอง
อันดับโลก
- อันดับที่ดีที่สุด : อันดับ 10 เมื่อวันที่ 29 สิงหาคม 2011
- 2011 : อันดับ 13
- 2012 : อันดับ 12
- 2013 : อันดับ 12
- 2014 : อันดับ 12
- 2015 : อันดับ 13
- 2016 : อันดับ 14
- 2017 : อันดับ 16
สตาฟฟ์โค้ช
ตำแหน่ง | ชื่อ | หมายเหตุ |
---|---|---|
หัวหน้าผู้ฝึกสอน | ดนัย ศรีวัชรเมธากุล | [9] |
ผู้ช่วยผู้ฝึกสอน | นาวาอากาศตรี ณัฐพนธ์ ศรีสมุทรนาค | [9] |
เทรนเนอร์ | ผศ. ถาวร กมุทศรี | [9] |
No comments:
Post a Comment