วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติญี่ปุ่น (ญี่ปุ่น: バレーボール全日本女子;
อังกฤษ: Japan women's national volleyball team หรือ All-Japan women's volleyball team)
เป็นทีมชาติวอลเลย์บอลของประเทศญี่ปุ่น ซึ่งปัจจุบันอยู่ในอันดับ 5 ของโลก โดยสหพันธ์วอลเลย์บอลนานาชาติ และมีหัวหน้าผู้ฝึกสอนคนปัจจุบันคือคุมิ นากาดะ หนึ่งในความสำเร็จที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของทีมคือชนะการแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน 1964 ที่กรุงโตเกียว โดยทีมชาติญี่ปุ่นเป็นฝ่ายชนะทีมชาติสหภาพโซเวียตและได้รับรางวัลเหรียญทอง ทีมชาติญี่ปุ่นได้รับเลือกให้เข้าแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน 2004 จากการเป็นฝ่ายชนะรอบคัดเลือกทีมโอลิมปิกหญิง ตั้งแต่วันที่ 8 ถึง 16 พฤษภาคม ณ กรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น และที่กรุงเอเธนส์ ประเทศกรีซ ทีมดังกล่าวได้อันดับห้าจากการแข่งขัน
อังกฤษ: Japan women's national volleyball team หรือ All-Japan women's volleyball team)
เป็นทีมชาติวอลเลย์บอลของประเทศญี่ปุ่น ซึ่งปัจจุบันอยู่ในอันดับ 5 ของโลก โดยสหพันธ์วอลเลย์บอลนานาชาติ และมีหัวหน้าผู้ฝึกสอนคนปัจจุบันคือคุมิ นากาดะ หนึ่งในความสำเร็จที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของทีมคือชนะการแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน 1964 ที่กรุงโตเกียว โดยทีมชาติญี่ปุ่นเป็นฝ่ายชนะทีมชาติสหภาพโซเวียตและได้รับรางวัลเหรียญทอง ทีมชาติญี่ปุ่นได้รับเลือกให้เข้าแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน 2004 จากการเป็นฝ่ายชนะรอบคัดเลือกทีมโอลิมปิกหญิง ตั้งแต่วันที่ 8 ถึง 16 พฤษภาคม ณ กรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น และที่กรุงเอเธนส์ ประเทศกรีซ ทีมดังกล่าวได้อันดับห้าจากการแข่งขัน
และในการแข่งขันวอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์เอเชีย 2013 ทีมชาติญี่ปุ่นได้พบกับทีมชาติไทย ในรอบชิงชนะเลิศ โดยเป็นฝ่ายแพ้ให้กับทีมชาติไทยที่ 3-0 เซต
ผลงานในกีฬาโอลิมปิก 2012
ทีมวอลเลย์บอลหญิงทีมชาติญี่ปุ่นผ่านการคัดเลือกในฐานะที่สุดของเอเชีย ถูกจัดให้อยู่ในกลุ่มเอ สายเดียวกับรัสเซียอิตาลี สาธารณรัฐโดมินิกัน สหราชอาณาจักร และแอลจีเรีย
และก็ทำผลงานได้ดี เข้ารอบเป็นที่สามของกลุ่มนี้ และในรอบก่อนรองชนะเลิศ ญี่ปุ่น พบกับทีมชาติจีน และเอาชนะไปได้อย่างสนุก 3-2 เซต สร้างปรากฏการณ์ชนะจีนเป็นครั้งแรกในรอบ 11 ปี
ในการแข่งขันภายใต้สหพันธ์วอลเลย์บอลนานาชาติ และในแมตช์นี้ ซะโอะริ คิมุระ และยุกิโกะ เอะบะตะ ทำคะแนนสูงสุด 33 คะแนนภายในแมตช์นี้แมตช์เดียว หลังจากนั้นก็มาแพ้บราซิล อันดับ 1 ของโลก 0-3 เซต และสุดท้ายในการแข่งขันชิงเหรียญทองแดงกับเกาหลีใต้ ที่ไปชนะอิตาลี อันดับ 4 ของโลกในปัจจุบัน 3-1 เซต ญี่ปุ่นก็สามารถชนะเกาหลีใต้ไปได้อย่างขาดลอย 3-0 เซต คว้าเหรียญทองแดงมาให้กับญี่ปุ่นได้สำเร็จในมหกรรมกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน 2012 รายชื่อผู้เล่นชุดปัจจุบัน
และก็ทำผลงานได้ดี เข้ารอบเป็นที่สามของกลุ่มนี้ และในรอบก่อนรองชนะเลิศ ญี่ปุ่น พบกับทีมชาติจีน และเอาชนะไปได้อย่างสนุก 3-2 เซต สร้างปรากฏการณ์ชนะจีนเป็นครั้งแรกในรอบ 11 ปี
ในการแข่งขันภายใต้สหพันธ์วอลเลย์บอลนานาชาติ และในแมตช์นี้ ซะโอะริ คิมุระ และยุกิโกะ เอะบะตะ ทำคะแนนสูงสุด 33 คะแนนภายในแมตช์นี้แมตช์เดียว หลังจากนั้นก็มาแพ้บราซิล อันดับ 1 ของโลก 0-3 เซต และสุดท้ายในการแข่งขันชิงเหรียญทองแดงกับเกาหลีใต้ ที่ไปชนะอิตาลี อันดับ 4 ของโลกในปัจจุบัน 3-1 เซต ญี่ปุ่นก็สามารถชนะเกาหลีใต้ไปได้อย่างขาดลอย 3-0 เซต คว้าเหรียญทองแดงมาให้กับญี่ปุ่นได้สำเร็จในมหกรรมกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน 2012 รายชื่อผู้เล่นชุดปัจจุบัน
- หัวหน้าผู้ฝึกสอน: คุมิ นากาดะ
ญี่ปุ่น
- อ้างอิงรายชื่อนักกีฬาชุดปัจจุบันจาก : การแข่งขันวอลเลย์บอลหญิงเวิลด์กรังด์ปรีซ์ 2015
เบอร์ | ชื่อ | วันเกิด | ส่วนสูง | ตบ | บล็อก | สโมสร 2014-2015 | ตำแหน่ง |
---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | มิยุ นะงะโอะกะ | 25 กรกฎาคม ค.ศ. 1991 | 179 | 315 | 299 | ![]() | ตัวตบหัวเสา |
2 | โคะโตะกิ ซะยะซุ | 18 กันยายน ค.ศ. 1985 | 159 | 270 | 255 | ![]() | ตัวรับอิสระ |
3 | อะริซะ ทะกะดะ | 17 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1987 | 175 | 301 | 299 | ![]() | ตัวตบหัวเสา |
4 | ชิซุรุ โคะโต | 8 ตุลาคม ค.ศ. 1982 | 171 | 296 | 255 | ![]() | ตัวเซต |
5 | โนะโซะมิ สึชิดะ | 19 สิงหาคม ค.ศ. 1986 | 167 | 280 | 275 | ![]() | ตัวเซต |
6 | ไม ยะมะงุชิ | 3 กรกฎาคม ค.ศ. 1983 | 176 | 317 | 302 | ![]() | บอลเร็ว |
7 | ซะรินะ โคะงะ | 21 พฤษภาคม ค.ศ. 1996 | 180 | 310 | 298 | ![]() | ตัวตบหัวเสา |
8 | ฮะรุโยะ ชิมะมุระ | 4 มีนาคม ค.ศ. 1992 | 182 | 315 | 302 | ![]() | บอลเร็ว |
9 | ซะยะกะ อิวะซะกิ | 18 กรกฎาคม ค.ศ. 1990 | 158 | 268 | 250 | ![]() | ตัวรับอิสระ |
10 | เอะริกะ อะระกิ | 3 สิงหาคม ค.ศ. 1984 | 186 | 310 | 300 | ![]() | บอลเร็ว |
11 | ยุกิ อิชิอิ | 8 พฤษภาคม ค.ศ. 1991 | 180 | 308 | 298 | ![]() | ตัวตบหัวเสา |
12 | มิโอะ ซะโต | 12 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1993 | 153 | 250 | 240 | ![]() | ตัวรับอิสระ |
13 | ยุกิโกะ เอะบะตะ | 7 พฤศจิกายน ค.ศ. 1989 | 176 | 307 | 299 | ![]() | ตัวตบหัวเสา |
14 | มะมิ อุชิเซะโตะ | 25 ตุลาคม ค.ศ. 1991 | 170 | 300 | 289 | ![]() | ตัวตบหัวเสา |
15 | ซะโอะริ ซะโกะดะ | 18 ธันวาคม ค.ศ. 1987 | 175 | 305 | 290 | ![]() | ตัวตบหัวเสา |
16 | คะนะ โอโนะ | 30 มิถุนายน ค.ศ. 1992 | 180 | 319 | 310 | ![]() | บอลเร็ว |
17 | ไอริ มิยะเบะ | 29 กรกฎาคม ค.ศ. 1998 | 181 | 309 | 290 | ![]() | ตัวตบหัวเสา |
18 | ฮะรุกะ มิยะชิตะ | 1 กันยายน ค.ศ. 1994 | 177 | 298 | 272 | ![]() | ตัวเซตหลัก |
19 | นะสึมิ ฟุจิตะ | 5 สิงหาคม ค.ศ. 1991 | 167 | 282 | 270 | ![]() | ตัวเซต |
20 | ริโฮะ โอตะเกะ | 23 ธันวาคม ค.ศ. 1993 | 182 | 315 | 304 | ![]() | บอลเร็ว |
21 | ยุริเอะ นะเบะยะ | 15 ธันวาคม ค.ศ. 1993 | 176 | 302 | 285 | ![]() | ตัวตบหัวเสา |
22 | มิซุโฮะ อิชิดะ | 22 มกราคม ค.ศ. 1988 | 174 | 301 | 286 | ![]() | ตัวตบหัวเสา |
23 | ริซะ ชิระงะกิ | 30 กรกฎาคม ค.ศ. 1991 | 179 | 305 | 290 | ![]() | ตัวตบหัวเสา |
24 | ซะยะกะ สึสึอิ | 29 กันยายน ค.ศ. 1992 | 158 | 255 | 245 | ![]() | ตัวรับอิสระ |
ผลงานเหรียญทองระดับโลก
เหรียญรางวัล | ||
---|---|---|
กีฬาโอลิมปิก | ||
ทอง | 1964 โตเกียว | ทีม |
เงิน | 1968 เม็กซิโกซิตี | ทีม |
เงิน | 1972 มิวนิก | ทีม |
ทอง | 1976 มอนทรีออล | ทีม |
ทองแดง | 1984 ลอสแอนเจลิส | ทีม |
ทองแดง | 2012 ลอนดอน | ทีม |
วอลเลย์บอลชิงแชมป์โลก | ||
เงิน | 1960 บราซิล | ทีม |
ทอง | 1962 สหภาพโซเวียต | ทีม |
ทอง | 1967 ญี่ปุ่น | ทีม |
เงิน | 1970 บัลแกเรีย | ทีม |
ทอง | 1974 เม็กซิโก | ทีม |
เงิน | 1978 สหภาพโซเวียต | ทีม |
ทองแดง | 2010 ญี่ปุ่น | ทีม |
เวิลด์คัพ | ||
เงิน | 1973 ญี่ปุ่น | ทีม |
ทอง | 1977 ญี่ปุ่น | ทีม |
เงิน | 1981 ญี่ปุ่น | ทีม |
วอลเลย์บอลเวิลด์แกรนด์แชมป์เปื้ยนคัพ | ||
ทองแดง | 2001 ญี่ปุ่น | ทีม |
ทองแดง | 2013 ญี่ปุ่น | ทีม |
วอลเลย์บอลเวิลด์กรังด์ปรีซ์ | ||
เงิน | 2014 ญี่ปุ่น | ทีม |
เอเชียนเกมส์ | ||
ทอง | 1962 จาการ์ตา | ทีม |
ทอง | 1966 กรุงเทพ | ทีม |
ทอง | 1970 กรุงเทพ | ทีม |
ทอง | 1974 เตหะราน | ทีม |
ทอง | 1978 กรุงเทพ | ทีม |
เงิน | 1982 นิวเดลี | ทีม |
เงิน | 1986 โซล | ทีม |
ทองแดง | 1990 ปักกิ่ง | ทีม |
ทองแดง | 1994 ฮิโระชิมะ | ทีม |
ทองแดง | 1998 กรุงเทพ | ทีม |
ทองแดง | 2002 ปูซาน | ทีม |
เงิน | 2006 โดฮา | ทีม |
วอลเลย์บอลชิงแชมป์เอเชีย | ||
ทอง | 1975 เมลเบิร์น | ทีม |
เงิน | 1979 ฮ่องกง | ทีม |
ทอง | 1983 ฟุกุโอะกะ | ทีม |
เงิน | 1987 เซี่ยงไฮ้ | ทีม |
ทองแดง | 1989 ฮ่องกง | ทีม |
เงิน | 1991 กรุงเทพ | ทีม |
เงิน | 1993 เซี่ยงไฮ้ | ทีม |
ทองแดง | 1995 เชียงใหม่ | ทีม |
ทองแดง | 1997 มะนิลา | ทีม |
ทองแดง | 1999 ฮ่องกง | ทีม |
เงิน | 2003 โฮจิมินห์ | ทีม |
ทองแดง | 2005 ไท้ชาง | ทีม |
ทอง | 2007 สุพรรณบุรี | ทีม |
ทองแดง | 2009 ฮานอย | ทีม |
เงิน | 2011 ไทเป | ทีม |
เงิน | 2013 นครราชสีมา | ทีม |
..
ปี | การแข่งขัน | เจ้าภาพ | อันดับที่ 2 | อันดับที่ 3 |
---|---|---|---|---|
1962 | วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์โลก 1962 | ![]() | ![]() | ![]() |
1964 | โอลิมปิกฤดูร้อน 1964 | ![]() | ![]() | ![]() |
1967 | วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์โลก 1967 | ![]() | ![]() | ![]() |
1974 | วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์โลก 1974 | ![]() | ![]() | ![]() |
1976 | โอลิมปิกฤดูร้อน 1976 | ![]() | ![]() | ![]() |
1977 | วอลเลย์บอลหญิงเวิลด์คัพ 1977 | ![]() | ![]() | ![]() |
รางวัล
โอลิมปิกฤดูร้อน
1964 –
เหรียญทอง
1968 –
เหรียญเงิน
1972 –
เหรียญเงิน
1976 –
เหรียญทอง
1980 – ไม่ผ่านการคัดเลือก
1984 –
เหรียญทองแดง
1988 – อันดับที่ 4
1992 – อันดับที่ 5
1996 – อันดับที่ 9
2000 – ไม่ผ่านการคัดเลือก
2004 – อันดับที่ 5
2008 – อันดับที่ 5
2012 –
เหรียญทองแดง
2016 – อันดับที่ 5
วอลเลย์บอลชิงแชมป์โลก
1956 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
1960 :
เหรียญเงิน
1962 :
เหรียญทอง
1967 :
เหรียญทอง
1970 :
เหรียญเงิน
1974 :
เหรียญทอง
1978 :
เหรียญเงิน
1982 : อันดับที่ 4
1986 : อันดับที่ 7
1990 : อันดับที่ 8
1994 : อันดับที่ 7
1998 : อันดับที่ 8
2002 : อันดับที่ 7
2006 : อันดับที่ 6
2010 :
เหรียญทองแดง
2014 : อันดับที่ 7
เวิลด์คัพ
1973 :
เหรียญเงิน
1977 :
เหรียญทอง
1981 :
เหรียญเงิน
1985 : อันดับที่ 4
1989 : อันดับที่ 4
1991 : อันดับที่ 7
1995 : อันดับที่ 6
1999 : อันดับที่ 6
2003 : อันดับที่ 5
2007 : อันดับที่ 7
2011 : อันดับที่ 4
2015 : อำดับที่ 5
วอลเลย์บอลเวิลด์แกรนด์แชมป์เปี้ยนคัพ
1993 : อันดับที่ 4
1997 : อันดับที่ 5
2001 :
เหรียญทองแดง
2005 : อันดับที่ 5
2009 : อันดับที่ 4
2013 :
เหรียญทองแดง
วอลเลย์บอลเวิลด์กรังด์ปรีซ์
1993 : อันดับที่ 6
1994 : อันดับที่ 4
1995 : อันดับที่ 7
1996 : อันดับที่ 8
1997 : อันดับที่ 4
1998 : อันดับที่ 7
1999 : อันดับที่ 7
2000 : อันดับที่ 8
2001 : อันดับที่ 6
2002 : อันดับที่ 5
2003 : อันดับที่ 9
2004 : อันดับที่ 9
2005 : อันดับที่ 5
2006 : อันดับที่ 6
2007 : อันดับที่ 9
2008 : อันดับที่ 6
2009 : อันดับที่ 6
2010 : อันดับที่ 6
2011 : อันดับที่ 5
2012 : อันดับที่ 9
2013 : อันดับที่ 4
2014 :
เหรียญเงิน
2015 : อันดับที่ 6
2016 : อันดับที่ 9
2017 : อันดับที่ 7
เอเชียนเกมส์
1962 :
เหรียญทอง
1966 :
เหรียญทอง
1970 :
เหรียญทอง
1974 :
เหรียญทอง
1978 :
เหรียญทอง
1982 :
เหรียญเงิน
1986 :
เหรียญเงิน
1990 :
เหรียญทองแดง
1994 :
เหรียญทองแดง
1998 :
เหรียญทองแดง
2002 :
เหรียญทองแดง
2006 :
เหรียญเงิน
2010 : อันดับที่ 6
2014 : อันดับที่ 4
วอลเลย์บอลชิงแชมป์เอเชีย
1975 :
เหรียญทอง
1979 :
เหรียญเงิน
1983 :
เหรียญทอง
1987 :
เหรียญเงิน
1989 :
เหรียญทองแดง
1991 :
เหรียญเงิน
1993 :
เหรียญเงิน
1995 :
เหรียญทองแดง
1997 :
เหรียญทองแดง
1999 :
เหรียญทองแดง
2001 : อันดับที่ 4
2003 :
เหรียญเงิน
2005 :
เหรียญเงิน
2007 :
เหรียญทอง
2009 :
เหรียญทองแดง
2011 :
เหรียญเงิน
2013 :
เหรียญเงิน
2015 : อันดับที่ 6
No comments:
Post a Comment